วันเสาร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

เนื้อหาการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น


ความน่าจะเป็น ม.5
ทฤษฎีความน่าจะเป็นเริ่มมาจากปัญหาของการเล่นเกมการพนัน โดยมีนักพนันชาวฝรั่งเศสชื่อ เซอวาลิเยร์ เดอ เมเร (Chevalier de Mire) ซึงนิยมเล่นพนันมาก เดอ เมเร มีปัญหาอยู่อย่างนึงที่ยังแก้ไม่ตกสักที คือปัญหาในการแบ่งเงินพนันกันระหว่างนักพนัน แกเลยเข้าไปขอคำแนะนำจากนักคณิตศาสตร์ที่ปราดเปรื่องที่สุดในฝรั่งเศสยุคนั้น คือปาสคาล (Pascal) และแฟร์มาต์ (Fermat) จนเป็นที่มาของทฤษฎีความน่าจะเป็นในยุคปัจจุบัน












วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559

เนื้อหาการเรียน เรื่อง ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
1. กราฟ
กราฟเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ซึ่งใช้จำลองปัญหาบางปัญหาโดยเขียนแผนภาพที่ประกอบด้วยจุดและเส้น ปัจจุบันมีการนำทฤษฎีกราฟมาประยุกต์ใช้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา เศรษฐศาสตร์ พันธุศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น
บทนิยาม กราฟ G ประกอบด้วยเซตจำนวน 2 เซต คือ
1. เซตที่ไม่เป็นเวตว่างของจุดยอด (vertex) แทนด้วยสัญลักษณ์ V(G)
2. เซตของเส้นเชื่อม (edge) ที่เชื่อมระหว่างจุดยอดแทนด้วยสัญลักษณ์ E(G)


2. ดีกรี
ดีกรีของจุดยอด
จะเห็นว่า เส้นเชื่อมที่เกิดกับจุดยอด a ได้แก่ เส้นเชื่อม ab และ ac ดังนั้น จำนวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด a คือ 2 สำหรับจุดยอด b มีเส้นเชื่อมที่เกิดกับจุดยอด b ได้แก่ เส้นเชื่อม ba, bc และ bb เป็นวงวน เกิดกับจุดยอด b กรณีที่มีเส้นเชื่อมเป็นวงวนจะกำหนดให้นับจำนวนเส้นเชื่อมที่เกิดกับจุดยอดนั้นเพิ่มขึ้น โดยให้นับเส้นเชื่อมที่เป็นวงวน 1 วง วงวนเป็น 2 ดังนั้นจำนวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด b จึงเป็น 4บทนิยาม ดีกรี (Degree) ของจุดยอด V ในกราฟ คือ จำนวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด v
ต่อไปจะเรียกจำนวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอดว่า ดีกรี ใช้สัญลักษณ์ deg v แทนดีกรีของจุดยอด v ตัวอย่างที่ 1 กำหนดกราฟ ดังรูป
จากรูปจะได้ว่า deg a = 2
deg b = 1
deg c = 3
deg d = 4
ตัวอย่างที่ 2 กำหนดกราฟ ดังรูป
จากรูปจะได้ว่า deg a = 5

deg b = 5
deg c = 5
deg d = 4
พิสูจน์ เนื่องจากเส้นเชื่อมแต่ละเส้นในกราฟเกิดกับจุดยอดเป็นจำนวน 2 ครั้ง ดังนั้นเส้นเชื่อมแต่ละเส้น
จะถูกนับ 2 ครั้งในผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุด
นั่นคือ ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับสองเท่าของจำนวนเส้นเชื่อมในกราฟ
ข้อสังเกต ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจำนวนคู่เสมอ
ตัวอย่างที่ 3 จงหาจำนวนเส้นเชื่อมของกราฟที่มีผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับ 22
วิธีทำ สมมติว่า กราฟมีเส้นเชื่อม n เส้น
จากทฤษฎีบท 1 ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุดจุดในกราฟเท่ากับสองเท่าของจำนวนเส้นเชื่อมในกราฟ
ดังนั้น 22 = 2n
นั่นคือ n = 11
สรุปได้ว่า กราฟมีเส้นเชื่อม11 เส้น


ตัวอย่างที่ 4 จงหาจำนวนจุดยอดของกราฟที่มีเส้นเชื่อม 15 เส้น และมีจุดยอด 3 จุด ที่มีดีกรี 4 ส่วนจุดยอดที่เหลือมีดีกรี 3
วิธีทำ ให้ n เป็นจำนวนจุดยอดที่มีดีกรี 3
ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟ คือ (3)(4) + 3n

จากทฤษฎีบท 1 ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุดจุดในกราฟเท่ากับสองเท่าของจำนวนเส้นเชื่อมในกราฟ
ดังนั้น (3)(4) + 3
เพราะฉะนั้น n = 6
ดังนั้น จำนวนจุดยอดทั้งหมดของกราฟ คือ 3 + 6 = 9 จุด
วิธีทำ สมมติว่า มีดีกรีที่มีจุดยอด 4 จุด และดีกรีของจุดยอดเท่ากับ 1, 1, 2 และ 3
ดังนั้น ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุด คือ 1 + 1 + 2 + 3 = 7
ซึ่งเป็นจำนวนคี่ ขัดแย้งกับทฤษฎีบท 1
ดังนั้น เป็นไปไม่ได้ที่จะมีกราฟดังกล่าว
ตัวอย่างที่ 5 จงพิจารณาว่าเป็นไปได้หรือไม่ว่า จะมีกราฟที่มีจุดยอด 4 จุด และดีกรีของจุดยอด คือ 1, 1, 2 และ 3 ตามลำดับ
ตัวอย่างที่ 6 กำหนดกราฟ ดังรูป
จากรูปจะได้ว่า deg a = 2
deg b = 3
deg c = 0
deg d = 3
deg e = 2
ดังนั้น จุดยอด a, c และ e เป็นจุดยอดคู่
จุดยอด b และ d เป็นจุดยอดคี่

ทฤษฎีบท2 ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจำนวนคู่
พิสูจน์ ให้ G เป็นกราฟ
ถ้า G ไม่มีจุดยอดคี่ นั่นคือ G มีจำนวนจุดยอดคี่เป็นศูนย์
จึงได้ว่าG มีจำนวนจุดยอดคี่เป็นจำนวนคู่
ต่อไปสมมติว่า กราฟ G มีจุดยอดคี่ k จุด คือ v1, v2, v3, …, vk
และมีจุดยอดคู่ n จุด คือ u1, u2, u3, …, un จากทฤษฎีบท 1
จะได้ว่า (deg v1 + deg v2 + … + deg vk) + (deg u1 + deg u2 + … + deg un) = 2q
เมื่อ q คือ จำนวนเส้นเชื่อมของ G
ดังนั้น deg v1 + deg v2 + … + deg vk = 2q - (deg u1 + deg u2 + … + deg un)
เนื่องจาก deg u1 + deg u2 + … + deg un ต่างก็เป็นจำนวนคู่
ดังนั้น 2q - (deg u1 + deg u2 + … + deg un) เป็นจำนวนคู่
นั่นคือ deg v1 + deg v2 + … + deg vk เป็นจำนวนคู่
แต่เนื่องจาก deg v1 + deg v2 + … + deg vk เป็นจำนวนคี่
เพราะฉะนั้น k จะต้องเป็นจำนวนคู่ จึงจะทำให้ deg v1 + deg v2 + … + deg vk
เป็นจำนวนคู่ สรุปได้ว่า กราฟ G มีจุดยอดคี่เป็นจำนวนคู่
จากตัวอย่างที่ 5 เราให้เหตุผลโดยอาศัยทฤษฎีบท 2 ดังนี้
สมมติว่า มีกราฟที่มีจุดยอด 4 จุด และดีกรีของจุดยอด คือ 1, 1, 2 และ 3
จะได้ว่า กราฟมีจุดยอดคี่เป็นจำนวน 3 จุด ซึ่งขัดแย้งกับทฤษฎีบท 2 สรุปได้ว่า ไม่มีกราฟที่มีสมบัติดังกล่าว


ตัวอย่างที่ 7 ถ้าในห้องประชุมแห่งหนึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 23 คน เป็นไปได้หรือไม่
ว่าผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละคนจับมือทักทายผู้เข้าร่วมประชุมคนอื่นเพียง 7 คนเท่านั้น

วิธีทำ แปลงปัญหาดังกล่าวเป็นกราฟ โดยให้จุดยอดแทนผู้เข้าร่วมประชุม และเส้นเชื่อมแทน การจับมือทักทายของผู้เข้าร่วมประชุม
จะได้ว่า กราฟนี้มีจุดยอด 23 จุด และจุดยอดแต่ละจุดมีดีกรี 7
นั้นคือ กราฟมีจุดยอดคี่เป็นจำนวน 23 จุด ซึ่งเป็นจำนวนคี่ ขัดแย้งกับทฤษฎีบท 2
ดังนั้น เป็นไปไม่ได้ที่ผู้เข้าร่วมประชุมแต่ละคนจับมือกับคนอื่นเพียง 7 เท่านั้น

3. กราฟออยเลอร์

ออยเลอร์ได้ให้ทฤษฎีที่เกี่ยวกับปัญหานี้ไว้ดังนี้

เครือข่าย ที่แสดงเป็นกราฟจะประกอบด้วยจุดเชื่อมโยง (Vertices) และเส้นเชื่อมโยงระหว่างจุด เรียกว่า arcs


จุด ที่มีจำนวนเส้นที่เชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคี่ เรียกว่า odd และถ้าจุดนั้นมีเส้นเชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคู่ จะเรียกว่า even


เส้นทางออยเลอร์ คือเส้นทางที่ลากผ่านเส้นต่าง ๆ ในเครือข่าย โดยแต่ละเส้นลากผ่านได้เพียงครั้งเดียว


ทฤษฎีของออยเลอร์ กล่าวว่า ถ้าหากว่าเครือข่ายใดมีจุดที่เป็น odd มากกว่าสองขึ้นไป จะไม่มีทางสร้างเส้นทางออยเลอร์ได้

เนื้อหาการเรียน เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน 2



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน (Complex Number)
ระบบจำนวนเลขเท่าที่มนุษย์คิดค้นพบในขณะนี้ประกอบด้วยเลขจำนวน 2 ระบบ คือ
1.            ระบบจำนวนจริง (Real Number System)
2.            ระบบจำนวนเชิงซ้อนประเภทจินตภาพ (Imaginary Number System)
1.             จำนวนจินตภาพ (Imaginary Number) เป็นจำนวนที่เกิดจากนักคณิตศาสตร์ 
พยายามแก้ไขปัญหาในค่า x จากสมการ  x2 + 1 = 0
x2  =  -1
x  =  ± Ö- 1
แต่เนื่องจากÖ- 1    มิใช่จำนวนจริง นักคณิตศาสตร์จึงตั้งชื่อจำนวนจริงลบที่อยู่ในเครื่องหมาย Ö     ว่าจำนวนจินตภาพและใช้สัญลักษณ์ แทน Ö-1 
 ดังนั้น      i2  =  -1
 1.             จำนวนตรรกยะ (Rational Number) คือ จำนวนที่สามารถเขียนในรูปเศษส่วน
a/b เมื่อ a และ  เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹จำนวนตรรกยะ จำแนกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1.             จำนวนเต็ม (Integer)
2.             เศษส่วน (Fraction)
3.             ทศนิยม (Repeating decimal)
3.  จำนวนอตรรกยะ (irrational Number) คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษ
            ส่วน a/b เมื่อ a และ  เป็นจำนวนเต็มโดยที่ b ¹0   หรือจำนวน
อตรรกยะคือ  จำนวนที่ไม่ใช่จำนวนตรรกยะนั่นเอง จำนวนอตรรกยะ จำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ใหญ่คือ

1.             จำนวนติดกรณ์บางจำนวนเช่นÖ2,Ö3,4Ö5 เป็นต้น  
2.             จำนวนทศนิยมไม่ซ้ำเช่น 5.18118168473465
หมายเหตุ p ซึ่งประมาณได้ด้วย 22/7 แต่จริงๆ แล้วpเป็นเลข
อตรรกยะ

จำนวนจริงทุกจำนวนสามารถแทนได้ด้วยจุดบนเส้นจำนวน
4.  จำนวนเชิงซ้อน(Complex Number) เขียนแทนด้วย z โดยที่ z = (a,b)
            จะได้ว่า      z  =  a + bi   เมื่อ  i  =  Ö-1                      i2 = -1
                                   
            เรียก     a ว่า เป็นส่วนจำนวนจริงของจำนวนเชิงซ้อน z
                        b ว่า เป็นส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อน z

4.1  การเท่ากันของจำนวนเชิงซ้อน 
ให้ z1 = a + bi   และ  z2  =  c + di    
ดังนั้น   z1  =  z2   ก็ต่อเมื่อ a = c  และ b = d
4.2  การบวกจำนวนเชิงซ้อน
ให้ z1 = a + bi   และ  z2  =  c + di    
ดังนั้น z1 + z2  =  (a+c) + (b+d)i
4.3                            การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนจริง
ให้ z1 = a + bi  และ เป็น จำนวนจริง
kz  =  ka + kbi
4.4                            การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนเชิงซ้อน
ให้ z1 = a + bi   และ  z2  =  c + di    
            z1 z2 = (a + bi)( c + di)  =  (ac - bd , ad+bc)
ตัวอย่าง  จงหาผลคูณของ   3 + 4i  กับ  2 + i
วิธีทำ               (3 + 4i)( 2 + i )    =      6 +3i + 8i + 4i2
                                                            =          6 + 11i - 4   =  2 + 11i
4.5                            คอนจูเกต(conjugate) ของจำนวนเชิงซ้อน  แทนด้วย   
ถ้า z = a + bi  แล้ว   z  =  a - bi

4.6                            การแก้สมการที่ผลลัพธ์เป็นจำนวนเชิงซ้อน
สมการอยู่ในรูป  ax2 + bx + c = 0  เมื่อ a ¹  0
ในกรณีนี้ให้ใช้สูตร

            x  =  - b ± Ö b2  - 4ac
                                    2a

4.7                            ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน a + bi
ให้ z = a + bi  ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อนของ z คือ
z      =   Ö a2  +  b2


วันพฤหัสบดีที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

เนื้อหาการเรียน เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน (อังกฤษ : complex number) ในทางคณิตศาสตร์ คือ เซตที่ต่อเติมจากเซตของจำนวนจริงโดยเพิ่มจำนวน i ซึ่งทำให้สมการ i2+1=0 เป็นจริง และหลังจากนั้นเพิ่มสมาชิกตัวอื่น ๆ เข้าไปจนกระทั่งเซตที่ได้ใหม่มีสมบัติการปิดภายใต้การบวกและการคูณ จำนวนเชิงซ้อน z ทุกตัวสามารถเขียนอยู่ในรูป x+iy โดยที่ x และ y เป็นจำนวนจริง โดยเราเรียก x และ y ว่าส่วนจริง (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) ของ z ตามลำดับ
เซตของจำนวนเชิงซ้อนทุกตัวมักถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ C จากนิยามข้างต้นเราได้ว่าเซตของจำนวนจริงเป็นสับเซตของเซตของจำนวนเชิงซ้อน ดังนั้นจำนวนจริงทุกตัวเป็นจำนวนเชิงซ้อน เราสามารถบวก ลบ คูณ และหารสมาชิกสองตัวใด ๆ ของเซตของจำนวนเชิงซ้อนได้ (เว้นแต่ในกรณีที่ตัวหารคือศูนย์) และผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจำนวนเชิงซ้อนเสมอ ดังนั้นในทางคณิตศาสตร์เราจึงกล่าวว่าเซตของจำนวนเชิงซ้อนเป็นฟีลด์ นอกจากนี้เซตของจำนวนเชิงซ้อนยังมีสมบัติการปิดทางพีชคณิต (algebraically closed) กล่าวคือ พหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนจะมีราก (พหุนาม)เป็นจำนวนเชิงซ้อนด้วย สมบัตินี้เป็นที่รู้จักในชื่อทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต
นอกจากนี้ ในทางคณิตศาสตร์แล้วคำว่า "เชิงซ้อน" ถูกใช้เป็นคำคุณศัพท์ที่มีความหมายว่าฟีลด์ของตัวเลขที่เราสนใจคือฟีลด์ของจำนวนเชิงซ้อน ยกตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์เชิงซ้อน, พหุนามเชิงซ้อน, แมทริกซ์เชิงซ้อน, และพีชคณิตลีเชิงซ้อน เป็นต้น

ฟีลด์ของจำนวนเชิงซ้อนแก้ไข

ฟีลด์ของจำนวนเชิงซ้อน C{\displaystyle \mathbb {C} } ประกอบด้วยเซตของคู่ลำดับ (a,b){\displaystyle (a,b)} ทั้งหมดโดยที่ a{\displaystyle a} และ b{\displaystyle b} เป็นจำนวนจริง และปฏิบัติการสองตัวคือ +{\displaystyle +} (การบวก) และ {\displaystyle \cdot } (การคูณ) โดยปฏิบัติการทั้งมีนิยามดังต่อไปนี้
ให้ (a,b){\displaystyle (a,b)} และ (c,d){\displaystyle (c,d)} เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ
(a,b)+(c,d)=(a+c,b+d){\displaystyle (a,b)+(c,d)=(a+c,b+d)\,}
(a,b)(c,d)=(acbd,ad+bc){\displaystyle (a,b)\cdot (c,d)=(ac-bd,ad+bc)\,}
เมื่อการบวก การลบ และการคูณภายในคู่ลำดับคือการบวก การลบ และการคูณจำนวนจริง
เซตของจำนวนเชิงซ้อนและปฏิบัติการทั้งสองมีสมบัติเป็นฟีลด์ กล่าวคือ
  • การบวกและการคูณมีสมบัติการปิด การสลับที่ การเปลี่ยนกลุ่ม และการแจกแจง
  • มีเอกลักษณ์การบวกคือ (0,0){\displaystyle (0,0)}
  • มีเอกลักษณ์การคูณคือ (1,0){\displaystyle (1,0)}
  • อินเวอร์สการบวกของ z=(a,b){\displaystyle z=(a,b)} (เขียนแทนด้วย z{\displaystyle -z}) คือ (-a, -b)
  • ถ้าหาก z=(a,b)(0,0){\displaystyle z=(a,b)\neq (0,0)} อินเวอร์สการคูณของ z{\displaystyle z} (เขียนแทนด้วย z1{\displaystyle z^{-1}}) คือ (aa2+b2,ba2+b2){\displaystyle \left({\frac {a}{a^{2}+b^{2}}},{\frac {-b}{a^{2}+b^{2}}}\right)}

จำนวนเชิงซ้อนในฐานะปริภูมิเวกเตอร์และฟีลด์ต่อเติมแก้ไข

อนึ่ง เราอาจมองเซตของจำนวนเชิงซ้อนเป็นปริภูมิเวกเตอร์สองมิติบนเซตของจำนวนจริง เราสามารถใช้การบวกจำนวนเชิงซ้อนแทนการบวกเวกเตอร์ และการคูณด้วยสเกลาร์สามารถนิยามได้ดังต่อไปนี้
c(a,b)=(ca,cb)=(a,b)c{\displaystyle c(a,b)=(ca,cb)=(a,b)c\,} เมื่อ cc เป็นจำนวนจริงและ (a,b){\displaystyle (a,b)} เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ
ด้วยเหตุนี้เราได้ว่าฐานหลักหนึ่งของเซตของจำนวนเชิงซ้อนประกอบด้วยเวกเตอร์ (1,0){\displaystyle (1,0)} และ (0,1){\displaystyle (0,1)} กล่าวคือเราสามารถเขียนจำนวนเชิงซ้อนทุกตัวในรูปของผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ทั้งสอง:
(a,b)=a(1,0)+b(0,1){\displaystyle (a,b)=a(1,0)+b(0,1)\,}
ตามความนิยม เรามักแปลความหมายของ (a,0)=a(1,0){\displaystyle (a,0)=a(1,0)} ว่าเป็นจำนวนจริง a{\displaystyle a} (ด้วยเหตุนี้เราจึงกล่าวว่าเซตจำนวนจริงเป็นสับเซตของเซตจำนวนเชิงซ้อน) และมักใช้สัญลักษณ์ i{\displaystyle i} แทน (0,1){\displaystyle (0,1)}จำนวนเชิงซ้อน (a,b){\displaystyle (a,b)} จึงเขียนได้อีกแบบหนึ่งว่า a+bi{\displaystyle a+bi} ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าแบบคู่ลำดับ
จากนิยามการคูณจำนวนเชิงซ้อนข้างต้น เราได้ว่า i2=(1,0)=1{\displaystyle i^{2}=(-1,0)=-1} นั่นคือ i{\displaystyle i} เป็นคำตอบของสมการ x2+1=0{\displaystyle x^{2}+1=0} ซึ่งไม่สามารถหาคำตอบได้ในเซตของจำนวนจริง ดังนั้น เซตของจำนวนเชิงซ้อน
จึงเป็นฟีลด์ต่อเติม (field extension) ของเซตของจำนวนจริงโดยการเพิ่มรากของพหุนาม x2+1{\displaystyle x^{2}+1} อีกนัยหนึ่ง เซตของจำนวนเชิงซ้อนคือริงผลหาร(quotient ring) ของริงพหุนาม R[x]{\displaystyle \mathbb {R} [x]} กับไอดีล (x2+1){\displaystyle (x^{2}+1)} เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ว่า

ฟีลด์ของจำนวนเชิงซ้อนแก้ไข

ฟีลด์ของจำนวนเชิงซ้อน C{\displaystyle \mathbb {C} } ประกอบด้วยเซตของคู่ลำดับ (a,b){\displaystyle (a,b)} ทั้งหมดโดยที่ a{\displaystyle a} และ b{\displaystyle b} เป็นจำนวนจริง และปฏิบัติการสองตัวคือ +{\displaystyle +} (การบวก) และ {\displaystyle \cdot } (การคูณ) โดยปฏิบัติการทั้งมีนิยามดังต่อไปนี้
ให้ (a,b){\displaystyle (a,b)} และ (c,d){\displaystyle (c,d)} เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ
(a,b)+(c,d)=(a+c,b+d){\displaystyle (a,b)+(c,d)=(a+c,b+d)\,}
(a,b)(c,d)=(acbd,ad+bc){\displaystyle (a,b)\cdot (c,d)=(ac-bd,ad+bc)\,}
เมื่อการบวก การลบ และการคูณภายในคู่ลำดับคือการบวก การลบ และการคูณจำนวนจริง
เซตของจำนวนเชิงซ้อนและปฏิบัติการทั้งสองมีสมบัติเป็นฟีลด์ กล่าวคือ
  • การบวกและการคูณมีสมบัติการปิด การสลับที่ การเปลี่ยนกลุ่ม และการแจกแจง
  • มีเอกลักษณ์การบวกคือ (0,0){\displaystyle (0,0)}
  • มีเอกลักษณ์การคูณคือ (1,0){\displaystyle (1,0)}
  • อินเวอร์สการบวกของ z=(a,b){\displaystyle z=(a,b)} (เขียนแทนด้วย z{\displaystyle -z}) คือ (-a, -b)
  • ถ้าหาก z=(a,b)(0,0){\displaystyle z=(a,b)\neq (0,0)} อินเวอร์สการคูณของ z{\displaystyle z} (เขียนแทนด้วย z1{\displaystyle z^{-1}}) คือ (aa2+b2,ba2+b2){\displaystyle \left({\frac {a}{a^{2}+b^{2}}},{\frac {-b}{a^{2}+b^{2}}}\right)}

จำนวนเชิงซ้อนในฐานะปริภูมิเวกเตอร์และฟีลด์ต่อเติมแก้ไข

อนึ่ง เราอาจมองเซตของจำนวนเชิงซ้อนเป็นปริภูมิเวกเตอร์สองมิติบนเซตของจำนวนจริง เราสามารถใช้การบวกจำนวนเชิงซ้อนแทนการบวกเวกเตอร์ และการคูณด้วยสเกลาร์สามารถนิยามได้ดังต่อไปนี้
c(a,b)=(ca,cb)=(a,b)c{\displaystyle c(a,b)=(ca,cb)=(a,b)c\,} เมื่อ cc เป็นจำนวนจริงและ (a,b){\displaystyle (a,b)} เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ
ด้วยเหตุนี้เราได้ว่าฐานหลักหนึ่งของเซตของจำนวนเชิงซ้อนประกอบด้วยเวกเตอร์ (1,0){\displaystyle (1,0)} และ (0,1){\displaystyle (0,1)} 
กล่าวคือเราสามารถเขียนจำนวนเชิงซ้อนทุกตัวในรูปของผลรวมเชิงเส้นของเวกเตอร์ทั้งสอง:
(a,b)=a(1,0)+b(0,1){\displaystyle (a,b)=a(1,0)+b(0,1)\,}
ตามความนิยม เรามักแปลความหมายของ (a,0)=a(1,0){\displaystyle (a,0)=a(1,0)} ว่าเป็นจำนวนจริง a{\displaystyle a} (ด้วยเหตุนี้เราจึงกล่าวว่าเซตจำนวนจริงเป็นสับเซตของเซตจำนวนเชิงซ้อน) และมักใช้สัญลักษณ์ i{\displaystyle i} แทน (0,1){\displaystyle (0,1)}จำนวนเชิงซ้อน (a,b){\displaystyle (a,b)} จึงเขียนได้อีกแบบหนึ่งว่า a+bi{\displaystyle a+bi} ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากกว่าแบบคู่ลำดับ
จากนิยามการคูณจำนวนเชิงซ้อนข้างต้น เราได้ว่า i2=(1,0)=1{\displaystyle i^{2}=(-1,0)=-1} นั่นคือ i{\displaystyle i} เป็นคำตอบของสมการ x2+1=0{\displaystyle x^{2}+1=0} ซึ่งไม่สามารถหาคำตอบได้ในเซตของจำนวนจริง ดังนั้น เซตของจำนวนเชิงซ้อนจึงเป็นฟีลด์ต่อเติม (field extension) ของเซตของจำนวนจริงโดยการเพิ่มรากของพหุนาม x2+1{\displaystyle x^{2}+1} อีกนัยหนึ่ง เซตของจำนวนเชิงซ้อนคือริงผลหาร(quotient ring) ของริงพหุนาม R[x]{\displaystyle \mathbb {R} [x]} กับไอดีล (x2+1){\displaystyle (x^{2}+1)} 
C=R[x]/(x2+1)

C=R[x]/(x2+1)